จุดเด่นของหลักสูตรศิลปศาสตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คือ การเปิดกว้างให้กับผู้ที่ต้องการศึกษาประวัติศาสตร์ ดังนั้นหลักสูตรจึงเปิดรับผู้ที่จบการศึกษาระดับปริญญาโททุกสาขาวิชา ตั้งแต่เปิดหลักสูตรเมื่อปี 2557 มีผู้ที่จบปริญญาโทมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์สาขาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ประวัติศาสตร์สนใจเข้ามาเป็นนักศึกษาของหลักสูตร โดยไม่ได้จำกัดเฉพาะผู้ที่มีตำแหน่งอาจารย์ระดับอุดมศึกษาเท่านั้น แต่ยังมีผู้ที่สนใจการผลิตองค์ความรู้ประวัติศาสตร์ ซึ่งไม่ได้อยู่ในอาชีพผู้สอนอีกด้วย

          การศึกษาของหลักสูตรแบ่งเป็นสองแผน คือ แบบเฉพาะการทำวิทยานิพนธ์ ซึ่งเหมาะสำหรับผู้ที่มีประสบการณ์ในการทำวิจัยมาแล้วระดับหนึ่ง และแบบศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์ ที่เหมาะกับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทมาไม่นานนัก หรือยังมีประสบการณ์การวิจัยด้านประวัติศาสตร์ไม่มาก

          นอกจากการศึกษาในชั้นเรียนแล้ว หลักสูตรยังมีการจัดกิจกรรมสัมมนาทางวิชาการตลอดจนกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนและการเขียนวิทยานิพนธ์อย่างสม่ำเสมอทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และยังส่งเสริมให้นักศึกษาขอทุนสนับสนุนการทำวิจัยสำหรับวิทยานิพนธ์จากองค์กรต่างๆ นอกเหนือจากทุนภายในมหาวิทยาลัย ตลอดจนการนำเสนอผลงานวิชาการในเวทีระดับชาติและนานาชาติอีกด้วย

          หลักสูตรศิลปศาสตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตรับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ เป็นหลักสูตรแบบศึกษาเต็มเวลา นักศึกษาต้องใช้ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร อย่างน้อย 7  ภาคการศึกษาปกติ และอย่างมากไม่เกิน 12 ภาคการศึกษาปกติ ดังนั้นนักศึกษาจึงสามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในเวลาตั้งแต่ 3.5 ถึง 6 ปี ค่าลงทะเบียนตามที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กำหนดประมาณภาคการศึกษาละ 21,300 บาท

ดาวน์โหลดหลักสูตร

 แนะนำหลักสูตร

วิภัส เลิศรัตนรังษี

วิภัส เลิศรัตนรังษี

วิภัส เลิศรัตนรังษี

Email : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

หัวข้อวิทยานิพนธ์ “โทรเลข: การปฏิวัติการสื่อสารกับการรวมศูนย์อำนาจของรัฐในสมัยรัชกาลที่ 5”

อามีน ลอนา

อามีน ลอนา

หัวข้อวิทยานิพนธ์ “การปฏิรูปศาสนาอิสลามในสยาม: กรณีศึกษาการฟื้นฟูศาสนาอิสลามของกลุ่มปัญญาชนมุสลิมระหว่างปี พ.ศ. 2475-2533”

อามีน ลอนา

หัวข้อวิทยานิพนธ์ “การปฏิรูปศาสนาอิสลามในสยาม: กรณีศึกษาการฟื้นฟูศาสนาอิสลามของกลุ่มปัญญาชนมุสลิมระหว่างปี พ.ศ. 2475-2533”

เชิดชาย บุตดี

เชิดชาย บุตดี

เชิดชาย บุตดี

 หัวข้อวิทยานิพนธ์ “วงจรการผลิตความรู้ว่าด้วยอีสาน ระหว่างกลางทศวรรษ 2430 ถึงสิ้นทศวรรษ 2490”

วิราวรรณ นฤปติ

วิราวรรณ นฤปติ

หัวข้อวิทยานิพนธ์ “‘คอมมิวนิสม์’ ในความคิดของปัญญาชนชาวพุทธไทยสมัยใหม่ พ.ศ. 2490-2500”

วิราวรรณ นฤปติ

หัวข้อวิทยานิพนธ์ “‘คอมมิวนิสม์’ ในความคิดของปัญญาชนชาวพุทธไทยสมัยใหม่ พ.ศ. 2490-2500”

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

 

อภิเชษฐ กาญจนดิฐ

อภิเชษฐ กาญจนดิฐ

อภิเชษฐ กาญจนดิฐ

วรธิภา สัตยานุศักดิ์กุล

วรธิภา สัตยานุศักดิ์กุล

วรธิภา สัตยานุศักดิ์กุล

ปรีดาภรณ์ เอี่ยมแจ๋

ปรีดาภรณ์ เอี่ยมแจ๋

ปรีดาภรณ์ เอี่ยมแจ๋

ณัฐธนนท์ ศุขถุงทอง

ณัฐธนนท์ ศุขถุงทอง

ณัฐธนนท์ ศุขถุงทอง

ณัฐธิดา ทองเกษม

ณัฐธิดา ทองเกษม

ณัฐธิดา ทองเกษม

ภาณุพงศ์ สิทธิสาร

ภาณุพงศ์ สิทธิสาร

ภาณุพงศ์ สิทธิสาร