พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, ผศ.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิพัฒน์  กระแจะจันทร์ (Pipad Krajaejun)

Email: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it., This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

ประวัติการศึกษา

2017-ปัจจุบัน        กำลังศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก สาขา History of Art and Archaeology, School of Arts. SOAS, University of London

2016-2017            MA. Department of the History of Art and Archaeology, School of Arts. SOAS, University of London

2546-2551            ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) ภาควิชาประวัติศาสตร์ สาขาประวัติศาสตร์ไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2541-2544            ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (โบราณคดี) เกียรตินิยมอันดับ 1 ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร 

ความเชี่ยวชาญ

  • ประวัติศาสตร์โบราณคดีในประเทศไทยไทยช่วงพุทธศตวรรษที่ 18-19 หรือสมัยหลังวัฒนธรรมเขมร-อยุธยาตอนต้น
  • ประวัติศาสตร์โบราณคดีกัมพูชาในสมัยเมืองพระนครตอนปลาย-สมัยหลังเมืองพระนครตอนต้น
  • ประวัติศาสตร์โบราณคดีชาติพันธุ์ในภาคเหนือของไทย

ทุนที่เคยได้รับ

2560-ปัจจุบัน        ทุนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เพื่อศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก)

2559-2560           Alphawood Scholarship, SOAS, University of London

2550                   Henry Luce Foundation/ACLS Grants to Individuals in East Asian Archaeology and Early History, Summer Field School Scholarships (East and

                          Southeast Asia), 2006-2007, Recipients — Individuals, American Council of Learned Societies, USA, Participated in: SMU Archaeological Field

                          School, Summer 2007, Southern Methodist University, Texas, USA

ทุนวิจัย/รายงานวิจัย

2562                       ทุนวิจัยปริญญาเอกจาก SAAAP, SOAS, University of London

2561                       ทุนวิจัยโครงการวิจัยเรื่อง พุทธทาสกับงานโบราณคดีและศิลปะ สนับสนุนโดยหอจดหมายเหตุพุทธทาส

2556                       โครงการสำรวจหลักฐานทางโบราณคดีและเส้นทางการค้าโบราณในขอบที่ราบสูงโคราชในเขตอำเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ, ทุนสนับสนุนจากทุนวิจัย           

                              มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปี 2556

2555                       โครงการศึกษาและฟื้นฟูประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์กลุ่มเลอเวือะ และมอญ ภายใต้ โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาภาษาและภูมิปัญญาของกลุ่มชาติพันธุ์บนฐานงานวิจัย

                              เพื่อท้องถิ่น: การบูรณาการความรู้จากงานวิจัยท้องถิ่นสู่ความรู้เชิงวิชาการ (สัญญาเลขที่ RDG55H0002). สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

2554                       โครงการสำรวจและขุดค้นแหล่งโบราณคดีในวัฒนธรรมวังประจบ อ.เมือง จ.ตาก, ทุนสนับสนุนจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2553                       โครงการประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในพื้นที่พรมแดนไทย-กัมพูชาบริเวณปราสาทเขาพระวิหาร: ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับเส้นพรมแดน, ทุนสนับสนุนจาก

                              มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

หนังสือ

2563                       พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, บรรณาธิการ. Ayutthaya Underground ประวัติศาสตร์อยุธยาจากวัด วัง ชั้นดิน และสิ่งของ. กรุงเทพฯ: มติชน.

2561                       ท้องถิ่นรังสิตในประวัติศาสตร์และความทรงจำ: จากเรือสู่รถกับการเปลี่ยนแปลงของชุมชนกรณีศึกษาชุมชนประตูน้ำจุฬาลงกรณ์ และชุมชนตลาดปากคลอง

                              หนึ่ง. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้ง จำกัด.        

2560                       พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, บรรณาธิการ. เสด็จสู่แดนสรวง: ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการ

                              การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, และมิวเซียมสยาม.

2559                       พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, บรรณาธิการ. พลังผู้หญิง แม่เมีย และเทพสตรี : ความจริงและภาพแทน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ,

                              2559

2559                       ยุคมืดของประวัติศาสตร์ไทย: หลังบายน พุทธเถรวาท การเข้ามาของคนไท. กรุงเทพฯ : มติชน, 2559

2558                       พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, บรรณาธิการ. ลอยกระทง เรือพระราชพิธี วัฒนธรรมน้ำร่วมราก. กรุงเทพฯ : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ : สำนักงาน

                              คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2558

2558                       พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, บรรณาธิการ. สุโขทัยกับอาเซียน : มองปัจจุบันผ่านอดีตจากมิติประวัติศาสตร์ ศิลปะ โบราณคดี. ปทุมธานี : คณะศิลปศาสตร์

                              มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2558.

2557                       พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, บรรณาธิการ. ยุคมืดของประวัติศาสตร์ไทย หลังบายน พุทธเถรวาท การเข้ามาของคนไท. ปทุมธานี : ฝ่ายวิชาการ คณะศิลปศาสตร์

                              มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2557.

2556                       ประวัติศาสตร์ว่าด้วยชีวิตบนเส้นพรมแดนบริเวณปราสาทพระวิหาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน.

บทความ

2561                       “สงครามแย่งปราสาทในตำนานชาวญัฮกุร(เนียะกุร) และข้อสันนิษฐานการสลายตัวของรัฐทวารวดี,” ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 40, ฉบับที่ 1 (พ.ย.2561): หน้า

                             136-145

2561                       “ลัวะในประวัติศาสตร์โบราณคดีล้านนา,” ใน สังคมพหุวัฒนธรรม, ทนงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และ สรัสวดี อ๋องสกุล, บรรณาธิการ. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัย

                              เชียงใหม่, หน้า 154-200.

2560                       เมื่อพุทธทาสอุตริอยากเป็นนักโบราณคดี พระสงฆ์ผู้ท้าทายเซเดย์. ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 38, ฉบับที่ 2 (ก.ค. 2560) : หน้า 38-43.

2559                       “การเคลื่อนย้ายของวัฒนธรรมกับโลงหินและหินตั้งที่ตำบลวังประจบ จังหวัดตาก”, เมืองโบราณ. ปีที่ 42, ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2559) : หน้า 145-159.

2559                       “บทสนทนาประวัติศาสตร์ ประชาธิปไตย และข้อเสนอสู่อนาคต”, ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 37, ฉบับที่ 8 (มิ.ย. 2559) : หน้า 160-169.

2559                       "บนพื้นที่ชายขอบ" ที่ราบสูงโคราชกับเส้นทางการค้าโบราณ และชาวญัฮกุร”, เมืองโบราณ. ปีที่ 42, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มี.ค. 2559) : หน้า 50 – 64.

2559                       “โบราณคดีและชาติพันธุ์ในเขตหมู่บ้านชาวญัฮกุรที่ อ.เทพสถิต จ.ชัยภูมิ”, ดำรงวิชาการ. ปีที่ 15, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2559) : หน้า 11-39.

2559                       “รัฐประหาร-ร่างทรง ถึงวีรบุรุษในประวัติศาสตร์ไทย,” ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 37, ฉบับที่ 3 (ม.ค. 2559) : หน้า 96 – 119.

2558                       “ส่งส่วยด้วยรัก.” ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 36, ฉบับที่ 8 (มิ.ย. 2558) : หน้า 44-57.

2558                       “พญาคันคากบุกสวรรค์ปราบภัยแล้งสู้เทวดา,” ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 36, ฉบับที่ 10 (ส.ค. 2558) : หน้า 138-157

2557                       “จาก “มะนิ่ฮ ญัฮกุร” (ชาวญัฮกุร) สู่การเป็นมอญทวารวดี และกระบวนการคืนความรู้สู่ชุมชนบ้านไร่”, วารสารอารยธรรมโขง-สาละวิน, ฉบับเดือน

                               มกราคม-มิถุนายน, 2557.

2556                       “ความจริงที่ถูกเลือก ประวัติศาสตร์ที่ไม่อยากเล่า”, วารสารสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ฉบับเดือนตุลาคม-ธันวาคม, 2556.

2556                       “จากผีทูตานา-อีญ จากดอกผีสู่ดอกพุทธ”, ใน วารสารเมืองโบราณ, ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2556), น.76-97.

2556                       “ตำนานพระนางจามเทวีมี 2 versions: ฤๅจะเป็นโศกนาฏกรรมของตำนานที่ห้ามถกเถียง”, ศิลปวัฒนธรรม, ปีที่ 35, ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2556), น. 28-30.

2554                       โจร โรคระบาด ชีวิตชาวนา และการจัดระบบชลประทานในทุ่งรังสิต สมัยรัชกาลที่ 5, ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 33, ฉบับที่ 2 (ธ.ค. 2554) หน้า 142-157.

2552                       “นักโบราณคดีสองคนบนทางสองแพร่งกับการตีความแหล่งโบราณคดี บ้านวังประจบ”, วารสารเมืองโบราณ, ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม -กันยายน 2552, หน้า

                              74-103. (เรื่องจากปก)

2551                       “โบราณคดีข้างถนนที่เขาวังกับการตีความทางโบราณคดี”, วารสารเมืองโบราณ, ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม -กันยายน 2551. (เรื่องจากปก)

รายงานวิจัย

 

2556                       รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาและฟื้นฟูประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์กลุ่มเลอเวือะ และมอญ ภายใต้ โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาภาษาและภูมิปัญญาของ

                             กลุ่มชาติพันธุ์บนฐานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: การบูรณาการความรู้จากงานวิจัยท้องถิ่นสู่ความรู้เชิงวิชาการ (สัญญาเลขที่ RDG55H0002). สำนักงานกองทุนสนับ

                             สนุนการวิจัย

2556                       โครงการสำรวจและขุดค้นทางโบราณคดีวัฒนธรรมวังประจบในเขตลุ่มน้ำแม่ระกา อ.เมือง จ.ตาก = The archaeological survey and excavation of Wang

                              Pra Chop culture in Mae Raka River, Aumpur Muang, Tak Province, Western Thailand. เสนอต่อ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทุนวิจัย

                              ประจำปี 2554.

2556                       ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในพื้นที่พรมแดนไทย-กัมพูชาบริเวณปราสาทเขาพระวิหาร : ความสัมพันธ์ระหว่างคนและเส้นพรมแดน = The local history of Thai-

                              Cambodia border around Prasat Preah Vihear Temple : the relationship between local people and border line. งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย

                              จากกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิทยานิพนธ์

2550                       การสร้างภาพลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ “ชาวเขา” ในสังคมไทย ระหว่างทศวรรษ 2420 ถึง ทศวรรษ 2520. (The Construction of Hilltribe Ethnic Identities

                              in Thai Society from the 1880’s to the 1980’s) วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์

                              มหาวิทยาลัย.  (Very Good)

2544                       การศึกษาวัฒนธรรมโลงไม้ด้วยวิธีการศึกษาจากวงปีไม้: กรณีศึกษาแหล่งโบราณคดีหุบเขาบ้านไร่ในเขตอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน. สารนิพนธ์ระดับ

                              ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (โบราณคดี) ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544.

ประวัติการทำงานทางด้านโบราณคดี

2563                       การขุดค้นทางโบราณคดีที่วัดมหาธาตุ สรรคบุรี, วัดมหาธาตุ ลพบุรี, และวัดพนัญเชิง จ.พระนครศรีอยุธยา

2558                       การขุดค้นแหล่งโบราณคดีปราสาทนครวัด เมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา

2557                       การขุดค้นแหล่งโบราณคดีปราสาทตาพรหม เมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา ภายใต้โครงการ Greater Angkor Project ของ University of Sydney,

                              University of Hawai'i, APSARA Authority, EFEO (ระหว่างวันที่ 13 มิถุนายน-25 กรกฏาคม)

2555                       การขุดค้นแหล่งโบราณคดีนายเสียน วัฒนธรรมการทำกล่องหินที่บ้านวังประจบ อำเภอเมือง จังหวัดตาก