E-mail: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
การศึกษา
2559, Doctor of Philosophy (History), The University of Queensland, Australia
2546, ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2544, Certificate (Indonesian Language), University of Indonesia, Indonesia
2542, ศิลปศาสตรบัณฑิต (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ความเชี่ยวชาญ
- ประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย (Indonesian History)
- อินโดนีเซียศึกษา (Indonesian Studies)
- ภาษาอินโดนีเซีย (Indonesian Language)
- อิสลามและการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Islam and Politics in Southeast Asia)
ผลงานตีพิมพ์
2562, อินโดนีเซีย รัฐอิสลาม และอูลามาอาเจะห์: กรณีกฎหมายอิสลามในอาเจะห์ ค.ศ. 1945-1962. ใน ปรีดี หงษ์สต้น และอัมพร หมาดเด็น (บรรณาธิการ). ศาสนากับความรุนแรง. กรุงเทพฯ: Patani Forum และ Illumunations Editions: 194-227.
2560, กฎหมายชารีอะห์กับผู้หญิงอาเจะห์: ชายขอบของชายขอบ. วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์, 40(1), 115-158.
2558, Pisaj-Momok Translation of Pisaj (ปีศาจ), กรุงเทพฯ: มติชน.
2557, สถาบันการเมืองในประเทศอาเซียนบวกสาม: สาธารณรัฐอินโดนีเซีย, กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
2557, “Report 2012: Politics and Development in Indonesia”, in TU-ASEAN Political Outlook, Bangkok: Direk Jayanama Research Center, Faculty of Political Science, Thammasat University.
2554, “จากเส้น “แบ่งรัฐ” สู่เส้น “ร้อย(รัด)รัฐ: หนึ่งศตวรรษแห่งการปักปันเขตแดนไทย-มาเลเซีย พ.ศ. 2453-2553” ร่วมกับ ธนศักดิ์ สายจำปา ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (บก.), เขตแดนสยามประเทศไทย-มาเลเซีย-พม่า-ลาว-กัมพูชา, กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2554, หน้า 1-81).
2553, “อนาคตของอาเจะห์หากไม่มีศูนย์รวมจิตใจ: การกลับสู่มาตุภูมิของฮาซัน ดี ตีโร ผู้นำขบวนการอาเจะห์เอกราช” ใน ทวีศักดิ์ เผือกสม และธนภาษ เดชพาวุฒิกุล (บก.), ศรีวิชัย เครือข่ายการค้า และวีรบุรุษ: อินโดนีเซียศึกษาในประเทศไทย, นครศรีธรรมราช: หน่วยวิจัยภูมิภาคศึกษา, 2553, หน้า 149-174. เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง “ศรีวิชัย เครือข่ายการค้า และวีรบุรุษ: อินโดนีเซียศึกษาในประเทศไทย” มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นครศรีธรรมราช 22-26 พฤศจิกายน 2553.
2553, “อาเจะห์วันนี้: สี่ปีหลังข้อตกลงสันติภาพ ความหวาดระแวงระหว่างผู้คนในสังคมยังคงอยู่” ใน สุเจน กรรพฤทธิ์ และ สิทธา เลิศไพบูลย์ศิริ (บก.), อุษาคเนย์ที่รัก, กรุงเทพฯ: โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553, หน้า 267-275.
2552, “สงครามความทรงจำกับพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย (2): กรณีคำสั่งเพิกถอนแบบเรียนประวัติศาสตร์”, ฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2552, หน้า 166-182.
2552, “สงครามความทรงจำกับพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย (1): ความทรงจำกับการเขียนประวัติศาสตร์เหตุการณ์เกสตาปู”, ฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2552, หน้า 164-197.
2549, “Tan Malaka: บุรุษแห่งการปฏิวัติ”, ศิลปศาสตร์สำนึก (วารสารสำนักวิชาศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์), ปีที่ 6 ฉบับที่ 15 (มิถุนายน 2549), หน้า 42-47.
2549, “เรื่องเล่าจากเมืองบลอร่า: รวมเรื่องสั้นเชิงอัตชีวประวัติของปราโมทยา อนันตา ตูร์” (แปลจากเรื่อง Cerita Dari Blora งานของ Pramoedya Ananta Toer) ประกอบงานสัมมนาเรื่อง “ตำนานแผ่นดิน: คุก ปากกา ปราโมทยา และกนกพงศ์ รำลึกสองนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, นครศรีธรรมราช, 27 กรกฎาคม 2549.
2549, “ดูหนังดูละคร แล้วย้อนดูอิเหนา: 100 ปีแห่ง “Gambar Idoep” (ภาพมีชีวิต) ในอินโดนีเซีย” ศิลปศาสตร์สำนึก (วารสารสำนักวิชาศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์), ปีที่ 5 ฉบับที่ 14 (ธันวาคม 2548), หน้า 44-53.
2548, “Pemahaman Terhadap Situasi di Thailand Selatan Melalui Perspektif Pemberontakan ‘Seributahunan’” (แปลบทความเรื่อง “กบฎชาวนา” ของนิธิ เอียวศรีวงศ์ เป็นภาษาอินโดนีเซีย) เผยแพร่ใน เว็บไซด์ Kyoto Review มีนาคม 2548 http://kyotoreview.cseas.kyoto-u.ac.jp/issue/issue5/article_454.html
2547, “ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในอินโดนีเซียหลังยุคซูฮาร์โต” เอกสารประกอบงานสัมมนา “เลือกตั้งอินโดนีเซีย 2004: อวสานยุคปฏิรูป?” มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, นครศรีธรรมราช, 18 มิถุนายน 2547.
2547, “การเสด็จประพาสสิงคโปร์และมลายู: พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการเสด็จประพาสต่างประเทศ” ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ อรอนงค์ ทิพย์พิมล (บก.), รัชกาลที่ 5: สยามกับอุษาคเนย์และชมพูทวีป, กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาตร์, 2547, หน้า 202-226.
2547, “สวนนักเรียน (Taman Siswa): การศึกษาสมัยใหม่กับขบวนการชาตินิยมอินโดนีเซีย” ใน ทวีศักดิ์ เผือกสม, ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม และอรอนงค์ ทิพย์พิมล, อินโดนีเซียรายา: รัฐจารีต สู่ “ชาติ” ในจินตนาการ, กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2547, หน้า 156-182.
2546, “สื่อในสมัย “ระเบียบใหม่” ของประธานาธิบดีซูฮาร์โต: การแบนสื่อในประวัติศาสตร์การเมืองอินโดนีเซีย”, ปาจารยาสาร, หน้า 34-39.
2546, “เหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 กับการรับรู้ของสังคมไทย”, การเมืองใหม่, ปีที่ 2 ฉบับที่ 6 พฤษภาคม-สิงหาคม 2545, หน้า 40-54.
2545, “พรมแดนแห่งความรู้: เหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 ในรอบ 10ปี” ใน ธนาพล อิ๋วสกุล, สิทธิพร จรดล และอรอนงค์ ทิพย์พิมล, ประชาธิปไตยฉบับน้ำตา: ประมวลกิจกรรมของคณะกรรมการญาติวีรชนพฤษภา'35 ในรอบหนึ่งทศวรรษ (2535-2545), กรุงเทพฯ: คณะกรรมการญาติวีรชนพฤษภา'35, 2545, หน้า 115-200.
ทุนวิจัยที่เคยได้รับ
2553, ไทยกับเพื่อนบ้าน: กรณีศึกษา (ไทย-มาเลเซีย) สนับสนุนโดย มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และ กระทรวงการต่างประเทศ
2552-2553, การเจรจาและการรักษาสันติภาพในอาเจะห์: บทเรียนสำหรับความขัดแย้งในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
2552-2553, บริโภคนิยมและวิถีชีวิตในชุมชนมุสลิมในเขตเทศบาลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สนับสนุนโดย สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2548, The Politics of Life-Style: Image and Power of Modern Muslims in Southern Thailand and Indonesia สนับสนุนโดย SEASREP Foundation
2547-2549, พจนานุกรมอินโดนีเซีย-ไทย สนับสนุนโดย หน่วยวิจัยภูมิภาคศึกษา, สำนักศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2546, The 150th Anniversary of King Chulalongkorn’s Overseas Journey สนับสนุนโดย มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และ Toyota Foundation
สัมมนาและอบรม (selected)
2559, 11th Singapore Graduate Forum on Southeast Asian Studies, NUS, Singapore 12-14 July. (Shariah law in Aceh: Political Struggle among the Acehnese Ulama)
2558, Indonesian Forum 2015, ศูนย์อาเซียนศึกษา, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 19 สิงหาคม (กฎหมายชารีอะห์ในอาเจะห์: การเมืองและสงครามภายใน)
2557, International Conference on Communication, Conflicts and Peace Process: Landscape of Knowledge from Asia and the Deep South of Thailand, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 21-22 สิงหาคม (The Political Role of Acehnese Ulama and Debates over Islamic law in Aceh, 1945-1962)
2555, International Conference “The History of Everyday Life in Late Imperial and Modern China”, The University of Queensland, Australia, 23-27 May (Reports on Age of Commerce)
2554, โครงการฝึกอบรม “เขตแดนของเรา เพื่อนบ้านอาเซียนของเรา” ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, กรุงเทพฯ, 21 มกราคม (กรณีศึกษาเขตแดนระหว่างประเทศ – ไทยกับเพื่อนบ้าน และการแก้ปัญหาของมรดกโลก)
2553, “ศรีวิชัย เครือข่ายการค้า และวีรบุรุษ: อินโดนีเซียศึกษาในประเทศไทย” มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช 22-26 พฤศจิกายน 2553 (อนาคตของอาเจะห์หากไม่มีศูนย์รวมจิตใจ: การกลับสู่มาตุภูมิของฮาซัน ดี ตีโร ผู้นำขบวนการอาเจะห์เอกราช)
2553, Thailand Research Expo 2010, กรุงเทพฯ, 23 สิงหาคม 2553 (บริโภคนิยมกับรูปแบบการดำเนินชีวิตของชุมชนมุสลิมในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา)
2552, “นครปัตตานีภายใต้รัฐธรรมนูญไทย: ความฝันหรือความจริง”, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 10 ธันวาคม (เขตปกครองพิเศษอาเจะห์: ความสำเร็จที่ยังต้องรอคอย)
2552, ความขัดแย้งและทางออกของการเมืองไทย, การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 10, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 1-2 ธันวาคม (การเจรจาและการรักษาสันติภาพในอาเจะห์: บทเรียนสำหรับกรณีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย)
2552, “Think Asia”, International Convention of Asia Scholars (ICAS), Daejeon, South Korea, 6-9 August (The Identity Politics of Life-Style: A Case Study of Image and Power among Modern Muslims in Hat Yai, Songkhla Province, Thailand)
2552, International Conference on Aceh and Indian Ocean Studies II: Civil Conflict and Its Remedies, by the Asia Research Institute, National University of Singapore at Banda Aceh, Indonesia, 23-24 February (Aceh: Implications for the Conflict in the Three Southernmost Provinces of Thailand)
2551, Women in the Public Sector, by the Center for Women’s Studies, Gadjah Mada University, Yogyakarta, Indonesia, 16-17 July (Women in Politics and Democratization in Post-Suharto Era)
2549, IAHA Conference, Manila, Philippines, 22-25 November (History of the Indonesian Students’ Movement and its Role in the History of Indonesia)
2548, SEASREP 10th Anniversary Conference, Chiang Mai, Thailand, 8-9 December (The Role of the Student Movement and the Fall of Suharto)
2548, Asian Horizons: Cities, States and Societies, Faculty of Arts and Social Sciences, National University of Singapore and the Asia Research Institute, 1-3 August (The Politics of Life-Style: An Image and Power of among Modern Muslims in Southern Thailand)
2546, 150 ปี พระปิยมหาราช รัชกาลที่ 5 (2396-2546): สยามกับอุษาคเนย์, โครงการตำราสังคมศาสตร์ ฯ และมูลนิธิโตโยต้า, 20 พฤศจิกายน (พระปิยมหาราช รัชกาลที่ 5 กับอังกฤษและมลายู/สิงคโปร์ 2411-2453)
2546, Southeast Asian Teacher Training, Sponsored by SEASREP, Ayuthaya, Thailand