E-mail: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
ประวัตกิารศึกษา
- รัฐศาสตรบัณฑิต (ความสัมพันธ์ระหวา่งประเทศ)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- รัฐศาสตรมหาบัณฑิต(ความสัมพันธ์ระหวา่งประเทศ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- M.A. (International relations) International University of Japan, Japan
- Ph.D. (International relations) Australian National University, Japan
ความเช่ียวชาญ
- ประวัติศาสตร์เอเชีย (History of Asia)
- ประวัติศาสตร์สหภาพยุโรปและการบูรณาการระหว่างประเทศในประวัติศาสตร์ (History of European Union and International integration in history)
หนังสือ
จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2561). ประวัติศาสตร์สหภาพยุโรป ค.ศ. 1951-1992. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2559). สหภาพยุโรป จากโรมถึงมาสตริทส์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พิมพ์ดี.
งานวิจัย
จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2562). องค์กรเหนือชาติกับการบริหารเส้นเขตแดนรัฐ : กรณีศึกษา “พื้นที่เชงเกน” (Supranational Organization and the Administration of State Borders: A case study of the “Schengen Area”). ทุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2559). องค์กรภูมิภาคกับการสร้าง “อัตลักษณ์ข้ามชาติ”: กรณีศึกษาสหภาพยุโรปและอาเซียน (Regional Organisation and the Construction of “Transnational identity”: Case Studies of the European Union and Asean ทุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2561). พื้นที่เชงเกน: “รัฐเวสฟาเลีย” ในรูปแบบใหม่ (Schengen Area: A New Model of “Westphalian State”). ทุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บทความวิจัย
จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2562). วิกฤติผู้อพยพยุโรป ค.ศ. 2015-2016: “การต่อสู้แข่งกับเวลา” ของสหภาพยุโรปเพื่อรักษาข้อตกลงเชงเกน. วารสารประวัติศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 169-218.
จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2560). องค์กรระหว่างประเทศกับการสร้างอัตลักษณ์ข้ามชาติ: ข้อถกเถียงเชิงทฤษฏี. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 17(2), 1-19.
จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2559). “ใครจะตายให้บรัสเซลส์?” “อัตลักษณ์ยุโรป” และ “ชาวยุโรป”: จินตนาการและความเป็นจริง. วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 16(2), 1-22.
จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2558). สหรัฐอเมริกาและการล้มของระบบแบรตตันวู้ด: นัยยะสำคัญต่อประชาคมยุโรปในทศวรรษ 1970. วารสารศิลปศาสตร์, 15(1), 74-90.
จุฬาพร เอื้อรักสกุล . สหภาพยุโรปจากโรมถึงมาสตริกต์. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์ต้นฉบบั , 2559.
จุฬาพร เอื้อรักสกลุ. “สหรัฐอเมริกาและการล้มเหลวของระบบแบรตตันวู้ด:นัยยะสาคัญต่อประชาคมยุโรปในทศวรรษ1970. ”วารสารศิลปศาสตร์ปีที่15, ฉบับที่ 1 มกราคม–มิถนุายน(2558).
จุฬาพร เอื้อรักสกุล . “คำประกาศชูมาน: การเริ่มต้นที่เหลือเชื่อของบูรณาการยุโรป.”วารสารศิลปศาสตร์ ปีที่ 14, ฉบบั ที่ 1 มกราคม – มิถุนายน (2557).
จุฬาพร เอื้อรักสกุล. “ภูมิหลังบูรณาการยุโรป.”วารสารศิลปศาสตร์ปีที่12, ฉบับที่ 1 มกราคม–มิถนุายน(2555).
ไมเคิลลีเฟอร์.พจนานกุรมการเมืองสมัยใหม่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. แปลโดยจุฬาพร เอื้อรักสกุล. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548.
จุฬาพร เอื้อรักสกุล . "ประชาคมอาเซียนและความขัดแย้งพรมแดน: บทเรียนจากสหภาพยุโรป", รวมบทความประกอบการประชุมวิชาการประเพณี. สถาบันวิจัยและพฒันาแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,2554.